-
✍ช่วงเวลาลงทะเบียน
20 พฤษภาคม 2566 08:00:00 - 30 มิถุนายน 2566 17:01:00
-
📅ช่วงเวลาเรียน
08 กรกฎาคม 2566 - 19 พฤศจิกายน 2566
-
💵ช่วงเวลาชำระเงิน
01 กรกฎาคม 2566 - 08 กรกฎาคม 2566
-
📄ประเภทหลักสูตร
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ แบบชุดวิชา
-
🎯คุณสมบัติผู้เรียน
มีการตรวจสอบคุณสมบัติผู้เรียน
-
🎓เกณฑ์เรียนจบ
-
-
⭐เอกสารรับรอง
ใบแสดงผลการเรียน (Transcript)
ประกาศนียบัตร แบบชุดวิชา (Module Certificate)
ประกาศนียบัตร แบบรายวิชา (Course Certificate)
-
👥กลุ่มเป้าหมาย
-
-
📞ติดต่อสอบถาม
-
สังกัดรายวิชา
คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน
อาจารย์ผู้สอน
คำอธิบายรายวิชา
ระบบการผลิตพืชหมุนเวียนการใช้ประโยชน์ ความอุดมสมบูรณ์ของดินเพื่อการปลูกพืช ปุ๋ยอินทรีย์และการย่อยสลาย ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยมูลไส้เดือน การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ทางการค้าและมาตรฐานปุ๋ยอินทรีย์ จุลินทรีย์ทางการเกษตร ชีวภัณฑ์ทางการเกษตร เทคโนโลยีชีวภาพจุลินทรีย์ป้องกันกำจัดแมลง จุลินทรีย์ป้องกันกำจัดโรคพืช และจุลินทรีย์ส่งเสริมการเจริญเติบโต การคัดเลือกเชื้อจุลินทรีย์จากระบบนิเวศการเพาะปลูก
วัตถุประสงค์รายวิชา
1. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวางแผนการจัดการฟาร์มโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม 2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถออกแบบโรงเรือนและระบบควบคุมการทำงานแบบอัตโนมัติและกึ่งอัตโนมัติสำหรับการผลิตพืช 3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถผลิตชีวภัณฑ์ในการควบคุมศัตรูพืชและผลิตปุ๋ยหรือปรับปรุงดินเพื่อการผลิตแบบหมุนเวียนในการผลิตได้
เกณฑ์การวัดและประเมินผล
GD:GRADE A, B, C, D, F
เนื้อหาเกี่ยวกับรายวิชา
ระบบการผลิตพืชหมุนเวียนการใช้ประโยชน์ ความอุดมสมบูรณ์ของดินเพื่อการปลูกพืช ปุ๋ยอินทรีย์และการย่อยสลาย ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยมูลไส้เดือน การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ทางการค้าและมาตรฐานปุ๋ยอินทรีย์ จุลินทรีย์ทางการเกษตร ชีวภัณฑ์ทางการเกษตร เทคโนโลยีชีวภาพจุลินทรีย์ป้องกันกำจัดแมลง จุลินทรีย์ป้องกันกำจัดโรคพืช และจุลินทรีย์ส่งเสริมการเจริญเติบโต การคัดเลือกเชื้อจุลินทรีย์จากระบบนิเวศการเพาะปลูก
มีการตรวจสอบคุณสมบัติผู้เรียน
-
วันเวลา และสถานที่เรียน
วันเวลา และสถานที่สอบ
Mid :
Final :
URL ห้องเรียนออนไลน์
TSU MOOC
-
หมายเหตุ
-
เอกสาร
-
สังกัดรายวิชา
คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน
อาจารย์ผู้สอน
คำอธิบายรายวิชา
การออกแบบแผนผังฟาร์มและการติดตั้งระบบเทคโนโลยีเพื่อควบคุมระบบการผลิตพืชและ ปศุสัตว์ การจัดการโครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภคภายในฟาร์ม การวางแผนการผลิตและการจัดการความเสี่ยง การออกแบบและการจัดทำบัญชีฟาร์ม การจัดทำแผนธุรกิจและการขอสินเชื่อ กรณีศึกษาการจัดการฟาร์มด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่
วัตถุประสงค์รายวิชา
1. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวางแผนการจัดการฟาร์มโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม 2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถออกแบบโรงเรือนและระบบควบคุมการทำงานแบบอัตโนมัติและกึ่งอัตโนมัติสำหรับการผลิตพืช 3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถผลิตชีวภัณฑ์ในการควบคุมศัตรูพืชและผลิตปุ๋ยหรือปรับปรุงดินเพื่อการผลิตแบบหมุนเวียนในการผลิตได้
เกณฑ์การวัดและประเมินผล
GD:GRADE A, B, C, D, F
เนื้อหาเกี่ยวกับรายวิชา
การออกแบบแผนผังฟาร์มและการติดตั้งระบบเทคโนโลยีเพื่อควบคุมระบบการผลิตพืชและ ปศุสัตว์ การจัดการโครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภคภายในฟาร์ม การวางแผนการผลิตและการจัดการความเสี่ยง การออกแบบและการจัดทำบัญชีฟาร์ม การจัดทำแผนธุรกิจและการขอสินเชื่อ กรณีศึกษาการจัดการฟาร์มด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่
มีการตรวจสอบคุณสมบัติผู้เรียน
-
วันเวลา และสถานที่เรียน
วันเวลา และสถานที่สอบ
Mid :
Final :
URL ห้องเรียนออนไลน์
TSU MOOC
-
หมายเหตุ
-
เอกสาร
-
สังกัดรายวิชา
คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน
อาจารย์ผู้สอน
คำอธิบายรายวิชา
พืชที่ผลิตในฟาร์มขนาดย่อม องค์ประกอบของการผลิตพืช ความสัมพันธ์ระหว่างพืช ปฐพี และการจัดการศัตรูพืช การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพืชด้วยนวัตกรรม การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพืชสมัยใหม่ด้วยระบบเกษตรแม่นยำ ออกแบบนวัตกรรมการผลิตเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพในฟาร์มขนาดย่อม
วัตถุประสงค์รายวิชา
1. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวางแผนการจัดการฟาร์มโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม 2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถออกแบบโรงเรือนและระบบควบคุมการทำงานแบบอัตโนมัติและกึ่งอัตโนมัติสำหรับการผลิตพืช 3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถผลิตชีวภัณฑ์ในการควบคุมศัตรูพืชและผลิตปุ๋ยหรือปรับปรุงดินเพื่อการผลิตแบบหมุนเวียนในการผลิตได้
เกณฑ์การวัดและประเมินผล
GD:GRADE A, B, C, D, F
เนื้อหาเกี่ยวกับรายวิชา
พืชที่ผลิตในฟาร์มขนาดย่อม องค์ประกอบของการผลิตพืช ความสัมพันธ์ระหว่างพืช ปฐพี และการจัดการศัตรูพืช การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพืชด้วยนวัตกรรม การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพืชสมัยใหม่ด้วยระบบเกษตรแม่นยำ ออกแบบนวัตกรรมการผลิตเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพในฟาร์มขนาดย่อม
มีการตรวจสอบคุณสมบัติผู้เรียน
-
วันเวลา และสถานที่เรียน
วันเวลา และสถานที่สอบ
Mid :
Final :
URL ห้องเรียนออนไลน์
TSU MOOC
-
หมายเหตุ
-
เอกสาร
-
สังกัดรายวิชา
คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน
อาจารย์ผู้สอน
คำอธิบายรายวิชา
นิยามผู้ประกอบการเกษตร คุณลักษณะของการเป็นผู้ประกอบการทางการเกษตร ทัศนคติ การค้นหาตัวตนความเป็นตัวเอง ความมีนวัตกรรม ความกล้าเสี่ยง ความก้าวร้าวในการแข่งขัน ความสม่ำเสมอและความใฝ่ใจในการเรียนรู้ ความใฝ่ใจในความสำเร็จ รูปแบบธุรกิจเกษตร การวางแผนธุรกิจ ออกแบบสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร กรณีศึกษาการแก้ปัญหาทางการเกษตรอย่างสร้างสรรค์
วัตถุประสงค์รายวิชา
1. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวางแผนการจัดการฟาร์มโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม 2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถออกแบบโรงเรือนและระบบควบคุมการทำงานแบบอัตโนมัติและกึ่งอัตโนมัติสำหรับการผลิตพืช 3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถผลิตชีวภัณฑ์ในการควบคุมศัตรูพืชและผลิตปุ๋ยหรือปรับปรุงดินเพื่อการผลิตแบบหมุนเวียนในการผลิตได้
เกณฑ์การวัดและประเมินผล
GD:GRADE A, B, C, D, F
เนื้อหาเกี่ยวกับรายวิชา
นิยามผู้ประกอบการเกษตร คุณลักษณะของการเป็นผู้ประกอบการทางการเกษตร ทัศนคติ การค้นหาตัวตนความเป็นตัวเอง ความมีนวัตกรรม ความกล้าเสี่ยง ความก้าวร้าวในการแข่งขัน ความสม่ำเสมอและความใฝ่ใจในการเรียนรู้ ความใฝ่ใจในความสำเร็จ รูปแบบธุรกิจเกษตร การวางแผนธุรกิจ ออกแบบสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร กรณีศึกษาการแก้ปัญหาทางการเกษตรอย่างสร้างสรรค์
มีการตรวจสอบคุณสมบัติผู้เรียน
-
วันเวลา และสถานที่เรียน
วันเวลา และสถานที่สอบ
Mid :
Final :
URL ห้องเรียนออนไลน์
TSU MOOC
-
หมายเหตุ
-
เอกสาร
-